– Maintenance, Civil
– งานโยธา
Working Report
Project name : Protection Coating at drying unit L-Cl2
Improve floor area TW-515
Persons operated : – ช่างปูน
Co-operator : ผู้ควบคุม งานปูน
Project operator : – ประสานงานโครงการ
SUMMARY :
เทปูนพื้นคอนกรีตทำbedding หนา5 ซ.มบริเวณใต้ ปั๊ม PU-513 A/B, PU-514 A/B, PU-515 A/B หมดแล้วไล่ทำต่อบริเวณใต้ถังTW-513, TW-514, TW-515 วันนี้ อาจจะทำได้แล้วเสร็จ เพียงครึ่งเดียว เพราะ ต้องเสียเวลาในการสกัดเอาปูน ที่เสียเสื่อมสภาพ แล้วออกตกแต่งบริเวณขอบฐานถัง และ ฐานปั๊ม ทั้งหมด
REPORT :
ไล่ทำต่อบริเวณ พื้นใต้ถัง กรดกำมะถัน TW-513, TW-514 และTW-515 ส่วนปัญหา เรื่องท่อน้ำ และ
ไม้ที่วางพาดไว้บนโครงเหล็กที่กีดขวางการทำงานได้รับการเคลียร์ ออกไปเรียบร้อยแล้ว การก่อขอบปูน (Curb) จะตั้งแบบไม้ แล้วเทปูนหยอดลงไปในแบบภายหลัง
พบว่ามีหยดน้ำจากปั้มทางด้านบน หยดลงมาบริเวณขอบรอบนอกของพื้นปูนที่ซ่อมแซมอยู่ ทางช่างปูนจะจัดการเอาถุงปูน ปูรองพื้นปูนไว้เพื่อกันพื้นปูนไม่ให้เปียก เพื่อให้ช่างหุ้มน้ำยาเรซิ่นที่จะเข้างานต่อ ทำงานได้สะดวกในภายหลัง หลังจากงานเทปูนเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ACTION :
หลังจากเทปูนคอนกรีตทำBedding หนาประมาณ5 ซ.มและปรับระดับประมาณ3 – 4 ซ.ม เสร็จแล้ว (
ถ้าทำระดับ เพียงแค่ 1 ซ.ม จะมีปัญหา เรื่องน้ำขังในภายหลังได้ ) ก็จะซ่อมขอบบริเวณฐานวางถัง(TW-513,TW-514,TW-515) และ ฐานวางปั๊ม ( PU-513 A/B, PU-514 A/B, PU-515 A/B ) ตั้งแบบไม้หรือ
ก่อ ขอบปูน Curb ขนาดกว้าง 10 ซ.มx สูง10 ซ.มและปรับระดับร่องคูน้ำGutter ขนาดกว้าง 15 ซ.มx ลึก5
ซ.มเพื่อให้น้ำไหลลงคูระบายใหญ่ต่อไป สุดท้ายจะตกแต่งเก็บงานบริเวณ ขอบฐานถัง และ ฐานปั๊ม ทั้งหมด
คิดว่างานปูนน่าจะแล้วเสร็จหมดภายในอาทิตย์หน้า (งานเดินได้ช้าเนื่องจากมีสิ่งกีดขวาง อากาศร้อนมาก และ ทำงานในบริเวณที่มีสารเคมีกัดกร่อนรุนแรง ต้องระมัดระวังแป็นอย่างมาก) หลังจากนั้น ต้องรอให้ปูน แห้ง Cure ตัวประมาณ1 สัปดาห์( ปกติปูนคอนกรีตFull Cure 27 วัน แต่ใส่น้ายาเร่งของซิก้า เพื่อช่วยให้ Cureตัวไวขึ้น) แล้วชุดช่างหุ้มน้ำยาเรซิ่นจะเข้ามารับงานต่อไป
Reported by : Project Manager )
– Maintenance, Civil
– งานโยธา
Working Report
Project name : Protection Coating at drying unit L-Cl2
Improve floor area TW-515
Persons operated : – ช่างปูน
Co-operator : – ผู้ควบคุม งานปูน
Project operator : – ประสานงานโครงการ
SUMMARY :
สกัดเอาปูน ที่เสียเสื่อมสภาพ แล้วออกตกแต่งบริเวณขอบฐานถัง และ ฐานปั๊ม ทั้งหมดเทปูนพื้นคอนกรีตทำ
bedding หนา5 ซ.มบริเวณใต้ถังTW-513, TW-514, TW-515 ตกแต่งบริเวณขอบคูน้ำ, ฐานถัง และ
ฐานปั๊ม ทั้งหมด
REPORT :
ทำงานบริเวณ พื้นใต้ถัง กรดกำมะถัน TW-513, TW-514 และTW-515 เตรียมงานตกแต่งขอบปูน
(Curb) เพื่อที่จะตั้งแบบไม้ ปักเหล็กเสียบหนวดกุ้ง ขนาด O.D 9mm. (3/8”) ทุกๆระยะ20 cm. และผูกยึด
ด้วยเหล็กวิ่งขนาดO.D 6mm.(1/4”) แล้วเทปูนหยอดลงไปในแบบภายหลัง
ตบแต่งบริเวณ คูน้ำ เพื่อเตรียมตั้งแบบไม้ และ วางเหล็กวิ่งขนาดO.D 6mm (1/4”) ตลอดแนวคุน้ำและผูก
ยึดด้วยเหล็กดัดเป็นรูปตัว U เท่าร่องคูน้ำขนาดO.D 6mm. (1/4”) ทุกๆระยะ15 cm.
พบว่ามีหยดน้ำจากหน้าแปลนข้างบนหยดลงมาบริเวณขอบรอบนอกของพื้นปูนที่ซ่อมแซมอยู่ ทางช่างปูนจะจัดการเอาถุงปูน หรือ แผ่นสังกะสีปูรองพื้นปูนไว้เพื่อกันพื้นปูนไม่ให้เปียก เพื่อให้ช่างหุ้มน้ำยาเรซิ่นที่จะเข้างานต่อ ทำงานได้สะดวกในภายหลัง หลังจากงานเทปูนเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ACTION :
หลังจากเทปูนคอนกรีตทำBedding หนาประมาณ5 ซ.มและปรับระดับประมาณ1:100 ซ.ม เสร็จแล้ว ก็
จะตกแต่งขอบบริเวณคูน้ำฐานวางถัง(TW-513,TW-514,TW-515) และ ฐานวางปั๊ม ( PU-513 A/B,
PU-514 A/B, PU-515 A/B ) ตั้งแบบไม้ และ วางโครงเหล็กเสริมแรง ก่อนเทปูน ก่อCurb ขนาดกว้าง 10
ซ.มx สูง10 ซ.มและขอบร่องคูน้ำGutter ขนาดกว้าง 15 ซ.มx ลึก5 ซ.มปรับระดับความลาดเอียง1:100
เพื่อให้น้ำไหลลงคูระบายใหญ่ต่อไป สุดท้ายจะเก็บงานบริเวณ ขอบฐานถัง และ ฐานปั๊ม ทั้งหมด
คิดว่างานปูนน่าจะแล้วเสร็จหมดภายในวันอังคารหน้า (งานเดินได้ช้าเนื่องจากมีสิ่งกีดขวาง อากาศร้อนมาก และ ทำงานในบริเวณที่มีสารเคมีกัดกร่อนรุนแรง ต้องระมัดระวังแป็นอย่างมาก) หลังจากนั้น ต้องรอให้ปูน แห้ง Cure ตัว ประมาณ 1 สัปดาห์( ปกติปูนคอนกรีตFull Cure 27 วัน แต่ใส่น้ายาเร่งของซิก้า เพื่อช่วยให้ Cureตัวไวขึ้น) แล้ว
ชุดช่างหุ้มน้ำยาเรซิ่นจะเข้ามารับงานต่อไป
Reported by : Project Manager
การขึงผ้าใบกั้นด้านข้างรอบบริเวณที่ทำงาน
เพื่อป้องกันสารเคมีพุ่งกระเด็นออกมา
จากปั๊ม ถูกผู้ปฎิบัติงาน
ตบแต่งขอบปูน ก่อนตั้งแบบไม้ และ วาง
โครงลวดเหล็กเสริมแรง
ตบแต่งขอบปูน ก่อนตั้งแบบไม้ และ วาง
โครงลวดเหล็กเสริมแรง
บริเวณที่มีสารเคมีรั่วซึมออกมาจากหน้าแปลน หยดลงบนพื้นปูน ต้องเอาแผ่นสังกะสีมาปูรองไว้
ตบแต่งขอบปูน
ก่อนตั้งแบบไม้
และวาง
โครงลวดเหล็ก
เสริมแรง
– Maintenance, Civil
– Safety งานโยธา, – งานPiping
Working Report
Project name : Protection Coating at drying unit L-Cl2
Improve floor area TW-515
Persons operated : – ช่างปูน
Co-operator : – ผู้ควบคุม งานปูน – ผู้ควบคุม งานเคลือบ
Project operator : – ประสานงานโครงการ
SUMMARY :
ตั้งแบบไม้ และ วางโครงเหล็กเสริมแรง เป็นเหล็กวิ่ง ขนาด O.D 6mm (1/4”) ตลอดแนวคูน้ำ และ ผูกยึดด้วยเหล็กดัดเป็นรูปตัว U เท่าร่องคูน้ำ ขนาด O.D 6mm. (1/4”) ทุกๆระยะ15 cm. ตกแต่งบริเวณขอบฐานถัง และ ฐานปั๊ม ทั้งหมดเทปูนพื้นคอนกรีตทำ Curb ขนาด กว้าง 10 ซ.มx สูง10 ซ.มและ ขอบร่องคูน้ำ Gutter ขนาด กว้าง 15 ซ.มx ลึก5 ซ.ม
เนื่องจากพบว่ามีการรั่วซึมของ คลอรีนเหลว จึงต้องหยุดรองานซ่อมเปลี่ยนวาล์วบริเวณใต้ถังTW-514 และ งานแก้ไขยกแนวท่อน้ำ 3 ท่อ ให้สูงพ้นแนวก่อ Curb บริเวณด้านข้างถังTW-513
REPORT :
ทำงานตั้งแบบไม้ ปักเหล็กเสียบหนวดกุ้ง ขนาด O.D 9mm. (3/8”) ทุกๆระยะ20 cm. และผูกยึดด้วยเหล็กวิ่งขนาดO.D 6mm.(1/4”) แล้วเทปูนหยอดลงไปในแบบ
ตบแต่งบริเวณ คูน้ำ เพื่อเตรียมตั้งแบบไม้ และ วางเหล็กวิ่ง ขนาด O.D 6mm (1/4”) ตลอดแนวคูน้ำ และ ผูกยึดด้วยเหล็กดัดเป็นรูปตัวU เท่าร่องคูน้ำขนาดO.D 6mm. (1/4”) ทุกๆระยะ15 cm. เทปูนและฉาบปูนปรับระดับพื้นคูน้ำประมาณ1-3 :100 ซ.ม ไม่ให้น้ำขัง
พบว่ามีหยดน้ำจากหน้าแปลนข้างบนหยดลงมาบริเวณขอบรอบนอกของพื้นปูนที่ซ่อมแซมอยู่เป็นจำนวนมาก ทางช่างปูนจัดการเอาแผ่นสังกะสี ปูรองพื้นปูนไว้เพื่อกันพื้นปูนไม่ให้น้ำยาหยดลงกัดพื้นปูนส่วนช่างเคลือบหุ้มไฟเบอร์และน้ำยาเรซิ่นจะเข้างานต่อทันทีภายหลังจากงานเทปูนเสร็จเรียบร้อย เพราะรอให้น้ำย���หยดลงมากัดพื้นปูนตลอดเวลาคงไม่ได้
ACTION :
หลังจากงานปูนคอนกรีตเสร็จแล้ว ชุดช่างเคลือบไฟเบอร์และหุ้มน้ำยาเรซิ่นจะเข้ามารับงานต่อไป ช่างเคลือบจะรีบทำการเตรียมผิวปูน
โดยปกติการจะลงน้ำยาเคลือบได้ ปูนต้องมีความชื้น ไม่เกิน 6 % แต่ในกรณีนี้รอไม่ได้ ก็จะใช้วิธีการเร่งให้แห้งโดยการใช้ สปอร์ตไลท์ ส่อง และ พัดลมเป่า เร่งให้แห้ง และ ก็ยังมีน้ำยากันความชื้น Moisture Barrier (SW601MB) ทารองพื้นเพื่อกันความชื้นดันขึ้นมาจากใต้พื้นเสริมด้วยในกรณีที่ปูนเปียกมากๆ
เมื่อเตรียวผิวเสร็จก็จะเริ่มงานเคลือบตามที่ออกแบบไว้ ในระบบเคลือบ EX 6160 Laminated Lining ต่อไปเตรียมทำเสนองาน เคลือบแท่นเคลือบแท่นวางเครื่อง H2SO4 Cooler Unit ( CP-551 A, B, C และD ) ขนาดประมาณ 3M. X 1.8M. x 0.5M. ( พื้นที่ประมาณ10 ตร.ม/ แท่น ) ต่อไป
Reported by : Project Manager
แก้ไข แนวท่อน้ำสีฟ้า 3
เส้น ด้านข้างถังTW-
513 บริเวณที่ทำงานตั้ง
แบบเทปูนก่อ Curb
งานตั้งแบบแบบไม้
และวาง โครงลวด
เหล็กเสริมแรง
ปักเหล็กหนวดกุ้ง และ
ผูกลวดวิ่ง
ก่อนเทปูนก่อ Curb
บริเวณที่มีการเปลี่ยนวาล์ล
เนื่องจากมีสารเคมีและแก็ส
คลอรีนรั่วซึมเป็นจำนวน
มากออกมาจากวาล์ว และ
หน้าแปลน มีสารเคมีหยด
ลงบนพื้นปูนตลอดเวลา
จนต้องเอาแผ่นสังกะสีมาปู
รองไว้
เตรียมทำเสนองาน
เคลือบแท่นวางเครื่อง
H2SO4 Cooler
Unit ( CP-551
A, B, C และD )
ต่อไป
– Maintenance, Civil
– Safety งานโยธา, – งานPiping
Working Report
Project name : Protection Coating at drying unit L-Cl2
Improve floor area TW-515
Persons operated : – ช่างไฟเบอร์ฯ
Co-operator : – ผู้ควบคุม งานลงใยและเคลือบน้ำยา
Project operator : – ประสานงานโครงการ
SUMMARY :
ชุดช่างเคลือบไฟเบอร์และหุ้มน้ำยาเรซิ่นเข้าไปเตรียมผิวเกลามุมตกแต่งมนขอบทำรัศมีR เพื่อไม่ให้เกิด Sharp Right Angle บริเวณขอบปูนCurb และทำPutty มนขอบทำรัศมีR ขอบร่องคูน้ำ Gutter ทั้งหมด
เตรียมผิวก่อนการลงน้ายารองพื้น
REPORT :
เคลือบพื้นป้องกันเคมี (Primary and Secondary Contamination) บริเวณพื้นที่เหล่านี้ คือ :-
1. Tower : TW 513, TW 514, TW 515 / Pump Unit : PU 513, PU 514, PU 515 บริเวณโดยรอบใต้ฐาน หอคอย ถังบรรจุ กรดซัลฟูริค หรือ กรดกำมะถัน(Sulfuric Acid ) ความเข้มข้น ประมาณ 35%, 70% และ98% Concentration ตามลำดับบริเวณฐานแท่นยึด ปั๊มดูด-ส่ง เคมี เคลือบคูระบายน้ำ Gutter
Tower Base + Outer-Shell Wall (15 CM. height over base ) : TW 513 – 515
SW 6160 Series : Vitrious Novalac Epoxy Laminated Flooring ( FRP ) – 3 layers (M/M/M)
Concrete Repair & Patching : POLYCON E850(Grouting Mortar) + Moisture Barrier SW601MB
1st layer (Prime Coat) : Swancor 901-L ( Primer ) / กรณีปูนชื้นลงSW601MB (Moisture Block)
2nd layer (Intermediate Coat 1) : Swancor SW 901 + CSM No.450
3rd layer (Intermediate Coat 2) : Swancor SW 901 + CSM No.450
4th layer (Intermediate Coat 3) : Swancor SW 626 A/B + CSM No.450
5th layer (Chemical Barrier) : Swancor SW 626 A/B + Tissue Mat (C-Glass)
6th layer (Chemical Barrier) : Swancor SW 626 A/B + Tissue Mat (C-Glass)
7th layer (Top Coat 1) : Swancor SW 626 A/B + Fume Silica + Pigment
Thickness : 3.5 – 3.8 mm.
ACTION :
งานปูนคอนกรีตเสร็จแล้ว ชุดช่างเคลือบไฟเบอร์และหุ้มน้ำยาเรซิ่นเข้ามารับงานต่อไป ช่างเคลือบจะรีบทำการเตรียมผิวปูน โดยปกติการจะลงน้ำยาเคลือบได้ ปูนต้องมีความชื้น ไม่เกิน 6 -10 % แต่ในกรณีนี้รอไม่ได้ ก็จะใช้วิธีการเร่งให้แห้งโดยการใช้ สปอร์ตไลท์ ส่อง และ พัดลมเป่า เร่งให้แห้ง และ ก็ยังมีน้ำยากันความชื้น Moisture Block (SW601MB) ทารองพื้นเพื่อกันความชื้นดันขึ้นมาจากใต้พื้นเสริมด้วย
ในกรณีที่ปูนเปียกชื้นมากๆ
เมื่อเตรียวผิวเสร็จก็จะเริ่มงานเคลือบตามที่ออกแบบไว้ ในระบบเคลือบ EX 6160 Novalac Laminated Lining ต่อไป
Reported by : Project Manager
– Maintenance, Civil
– Safety งานโยธา และ ก่อสร้าง, – งานPiping
Working Report
Project name : Protection Coating at drying unit L-Cl2
Improve floor area TW-515
Persons operated : – ช่างไฟเบอร์ฯ
Co-operator : – ผู้ควบคุม งานลงใยและเคลือบน้ำยา – ผู้ควบคุม เครื่องพ่นสเปรย์น้ำยาเคลือบ
Project operator : – ประสานงานโครงการ
SUMMARY :
ชุดช่างพ่นสเปรย์เคลือบน้ำยารองพื้นปูนชื้นMoisture Block ด้วย SWANCOR SW-601 MB ในบริเวณพื้นที่ทั้งหมดโดยใช้เครื่องพ่นเคลือบ Gel Coater Outfit BINKS model 105-1074 w/ 5 Gallons ( 25 Liters) Pressure Tank + Mobile Air Compressor unit PUMA model AC-1512 + 2001GW spray gun
เตรียมผิวก่อนการลงน้ายาSWANCOR Chempulse 901 Vinylester resin + C.S.M #450
REPORT :
เคลือบพื้นป้องกันเคมี (Primary and Secondary Contamination) บริเวณพื้นที่เหล่านี้ คือ :-
1. Tower : TW 513, TW 514, TW 515 / Pump Unit : PU 513, PU 514, PU 515 บริเวณโดยรอบใต้ฐาน หอคอย ถังบรรจุ กรดซัลฟูริค หรือกรด กำมะถัน(Sulfuric Acid ) ความเข้มข้น ประมาณ 35%, 70% และ98% Concentration ตามลำดับบริเวณฐานแท่นยึด ปั๊มดูด-ส่ง เคมี เคลือบคูระบายน้ำ Gutter
Tower Base + Outer-Shell Wall (15 CM. height over base ) : TW 513 – 515
SW 6160 Series : Vitrious Novalac Epoxy Laminated Flooring ( FRP ) – 3 layers (M/M/M)
1st layer (Prime Coat) : กรณีปูนชื้นลงSwancor SW601MB (Moisture Block)
2nd layer (Intermediate Coat 1) : Swancor SW 901 + CSM No.450
3rd layer (Intermediate Coat 2) : Swancor SW 901 + CSM No.450
4th layer (Intermediate Coat 3) : Swancor SW 626 A/B + CSM No.450
5th layer (Chemical Barrier) : Swancor SW 626 A/B + Tissue Mat (C-Glass)
6th layer (Chemical Barrier) : Swancor SW 626 A/B + Tissue Mat (C-Glass)
7th layer (Top Coat 1) : Swancor SW 626 A/B + Fume Silica + Pigment
Thickness : 3.5 – 3.8 mm.
ACTION :
ชุดช่างเคลือบไฟเบอร์และหุ้มน้ำยาเรซิ่นจะลงใยแก้ว และน้ำยาเคลือบได้ ต่อจากน้ำยากันความชื้น Moisture Block (SW601MB) โดยจะเริ่มจากเคลือบบริเวณ ร่องคูน้ำGutter ก่อน เพื่อจะได้ทำการไล่น้ำบริเวณที่ขังในพื้นที่ทั้งหมดลงในร่องน้ำโดยเร็ว
เคลือบตามที่ออกแบบไว้ ในระบบเคลือบ EX 6160 Novalac Laminated Lining ชั้นต่อไป
Reported by : Project Manager
เตรียมเครื่องพ่น
สเปรย์ Gel
Coater
105-1074
+2
001GW
spray gun
พ่นรองพื้นปูนชื้น
SW601MB
เตรียมอุปกรณ์ พ่วง
ต่อเข้าเครื่องอัดลม
สนามAC-
1512 เข้าเครื่อง
พ่นน้ำยาเคลือบ
SW601MB
บริเวณที่พ่นเคลือบรอง
พื้นปูนชื้น
Moisture
Block
SW601MB
Water-base
ทั้งหมดหนาประมาณ
200 ไมครอน
แก้ไขมีน้ำกรดหยดรั่วซึมออกมาจากหน้า
แปลน ใต้ถัง TW-514
– Maintenance, Civil
– Safety งานโยธา และ ก่อสร้าง, งานPiping
Working Report
Project name : Protection Coating at drying unit L-Cl2
Improve floor area TW-515
Persons operated : – ช่างไฟเบอร์ฯ
Co-operator : – ผู้ควบคุม งานลงใยและเคลือบน้ำยา – ผู้ควบคุม เครื่องพ่นสเปรย์น้ำยาเคลือบ
Project operator : – ประสานงานโครงการ
SUMMARY :
ทำชั้นโครงสร้างรับแรงสั่นสะเทือน วางใยแก้ว ลงน้ายาSWANCOR Chempulse 901 Vinylester
resin + C.S.M #450 ทำชั้นเกราะเคมีวางใยผิวTissue Veil #250 ลงน้ำยา เคลือบทับหน้า Navalac SW626 ชั้นที่ 1 บริเวณTW-513, PU 513 A และ B
ใช้ลูกหมูลูบผิว เพื่อให้เกิด Profile เพื่อเตรียมลงเคลือบทับหน้า Navalac SW626+แม่สีเขียว ในชั้นสุดท้าย
REPORT : ACTION :
ชุดช่างเคลือบไฟเบอร์และหุ้มน้ำยาเรซิ่นจะลงใยแก้ว และน้ำยาเคลือบได้ ต่อจากน้ำยากันความชื้น Moisture Block (SW601MB) โดยจะเริ่มจากเคลือบบริเวณ ร่องคูน้ำGutter ก่อน เพื่อจะได้ทำการไล่น้ำบริเวณที่ขังในพื้นที่ทั���งหมดลงในร่องน้ำโดยเร็ว
เคลือบตามที่ออกแบบไว้ ในระบบเคลือบ EX 6160 Novalac Laminated Lining ชั้นต่อไป
Reported by : Project Manager
– Maintenance, Civil
– Safety งานโยธา และ ก่อสร้าง, – งานPiping
Working Report
Project name : Protection Coating at drying unit L-Cl2
Improve floor area TW-515
Persons operated : – ช่างไฟเบอร์ฯ – ช่างไฟเบอร์ฯ
Co-operator : – ผู้ควบคุมงานลงใยและเคลือบน้ำยา – ผู้ควบคุม เครื่องพ่นสเปรย์น้ำยาเคลือบ
Project operator : – ประสานงานโครงการ
SUMMARY :
ทำชั้นโครงสร้างรับแรงสั่นสะเทือน วางใยแก้ว ลงน้ายา SWANCOR Chempulse 901
Vinylester resin + C.S.M #450 ทำชั้นเกราะเคมีวางใยผิวTissue Veil #250 ลงน้ำยาเคลือบทับ
หน้า Navalac SW626 ครบทั้งหมดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ใช้ลูกหมูลูบผิว เพื่อให้เกิด Profile แล้วลงเคลือบทับหน้า Navalac SW626+แม่สีเขียวชั้นสุดท้าย โดย
การพ่นสเปรย์เคลือบทับหน้าสีเขียวเป็นชั้นตอนสุดท้ายเก็บงานบริเวณฐานปั๊ม ขอบปูนด้านนอก และ ปลายทางคูระบายน้ำ แล้ว
เตรียมการย้ายออก นอกสถานที่เมื่อจบงานแล้ว ( Demobilization )
REPORT :
พยายามBlock น้ำ ก่อนการทำงานทุกครั้ง แต่ก็ยังพบว่ามีน้ำ และ กรด รั่วซึมออกมาจากระบบท่อ บริเวณ หน้าแปลนหยดลงบนพื้นทีการทำงานตลอดเวลาถ่าเป้นไปได้ในการ overhaults ระบบท่อในครั้งต่อไปควรจะมีการเคลือบ Gasket Landing Area ของหน้าแปลนด้วยระบบ Ceramic Flage Lining เพื่อไม่ให้เกิดปัยหาในการรั่วซึมต่อไปในอนาคต( ดูรายละเอียด ในข้อเสนอแนะ เรื่อง Ceramic Flange Lining on Gasket Landing Area )
ACTION :
ชุดช่างเคลือบไฟเบอร์และหุ้มน้ำยาเรซิ่นจะลงใยแก้ว และน้ำยาเคลือบครบทั้งหมดตามที่ออกแบบไว้ ในระบบเคลือบ EX 6160 Novalac Laminated Lining เป็นที่เรียบร้อยแล้ว พ่นสเปรย์ทับหน้าสีเขียว เก็บงานที่เหลือในขั้นสุดท้าย และเตรียมการขั้นต่อไปในการDemobilization เคลื่อนย้ายออก เมื่อจบงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
Reported by : Project Manager