Maintenance, Civil Projects
Hyd. Dumper Overhaults Operation
Date of working : Nov. 26 – 28, Oct. 16 ,2007
Project name :
(1) Lining waste water Sump Pit ( เคลือบบ่อซั้มคอนกรีต ) at rotary shop
(2) CP-551 A Protection Coating for Chlorine Compressor
Persons operated :
– หัวหน้า ช่างฝีมือ งานเคลือบเกราะเคมี
– Worker Co-operator
– Fabricator / Applicator #1
– Fabricator / Applicator #2
– Fabricator / Applicator #3
Co-operator :
– Project Co-operator / ช่างเครื่อง
Project operator :
– ประสานงานโครงการ
SUMMARY :
เข้าหน้างาน เพื่อเตรียมลงเคลือบ แต่มีปัญหาไม่สามารถเปิดหน้างานได้ หัวหน้าช่างดูงานแล้ว คิดว่าไม่สามารถจบงานได้ ขอเลื่อนไปก่อน
• To make concrete lining on Concrete Sump Pit size 0.95 x 0.95 x 0.9 M. depth with Chemical Coating which resists to Aqueous Mixture Solution PH 6 -10 at ambient temperature
• To make concrete lining on concrete foundation at L-Cl2 drying unit.ที่แท่น CP-551 A ขนาด ขนาดแท่นหลัก H940 x W1060 x L2450 + แท่นรอง H200 x W350 x L350 + แท่นรอง H170 x W 920 x L1450
• To make Flakeglass lining on machine base frame, motor cover and guard ,Cl2 compressor. ที่แท่น CP-551 A ขนาด ขนาดแท่นหลัก H940 x W1060 โครงฐานเหล็กรองเครื่อง, มอเตอร์ 50KW ขนาด Ø50 x 60 cm. และ ป๊มเคมี บนแท่น CP-551 A
REPORT :
1) Lining waste water Sump Pit ( เคลือบบ่อซั้มคอนกรีต ) at rotary shop
ระบบเคลือบ SW 6920 Series x thinkness 3 mm. : Vinylester Laminate Lining ( FRP ) ผนังด้านในบ่อซัม และ ขอบบ่อคอนกรีต
Concrete Coating (Wall + Curb) : SW 6920 – 3 layers (M/M/M)
1st layer (Prime Block) : Swancor 601-MB-A/B ( Concrete Moisture Block )
2nd layer (Moisture Barrier) : Epopac A/B/C ( น้ำยากันซึมบล็อกแรงดันจากตาน้ำใต้ดิน ก้นบ่อปูน )
3rd layer (Primer) : Swancor 963-Low visc.( Concrete Primer ) + Kaolin Clay
4th layer (Intermediate Coat 1) : Swancor SW 901 + CSM No.450
5th layer (Intermediate Coat 2) : Swancor SW 901 + CSM No.450
6th layer (Intermediate Coat 3) : Swancor SW 901 + CSM No.450
7th layer (Chemical Barrier) : Swancor SW 901 + Tissue Mat (C-Glass)
8th layer (Top Coat 1) : Swancor SW 901 + Fume Silica + Pigment
Thickness : 3.0 – 3.2 mm.
2) CP-551 A Protection Coating for Chlorine Compressor
2.1 เคลือบเกราะเคมีทน 98% Conc.H2SO4 – โครงฐานเหล็กรองเครื่อง, มอเตอร์ 50KW ขนาด Ø50 x 60 cm. และ ป๊มเคมี บนแท่น CP-551 A ( เสื้อปั๊ม ฝาครอบ ครีบระบายความร้อน และ การ์ดป้องกัน ต่อ ชุดปั๊ม 1 หน่วย
Coating Steel body and Support bar ( Pump Cover, Shaft Guard and Steel Basement ) :
ระบบเคลือบ SW 6910 series ( C-type Glass Flake Coating ) x thickness. 0.5 mm :
Vinylester Flake Lining ( SW 626 FL-S Flake Compound ) by Roller or Spraying
Surface-treatment : Degreasing / Cleaning (Pyroclean204) +
หรือ ถ้ามีสนิมมากลง Rust & Scale Inhibitor (Baypure DS 100/40)
1st layer (Prime Coat) : Swancor 626-Low visc. ( Primer ) + Kaolin Clay
2nd layer ( Flake Coat ) : Swancor SW 626 FL-S + Pigment (Blue) by Spraying
Thickness : 0.5 mm. ( 500 Microns )
2.2 ระบบเดิมที่วางแผนไว้ เคลือบฐานคอนกรีตใต้ เครื่องคอมเพรสเซอร์ ที่บริเวณ H2SO4 cooler unit : CP-551 Concrete Base ขนาด พื้นที่ โดยประมาณ กว้าง 1.8 เมตร x ยาว 3 เมตร x สูง 0.5 เมตร และบริเวณโดยรอบใต้ฐาน จนถึงรางระบายน้ำ (Trench) ซึ่งห่างจากขอบฐาน ประมาณ 20 ซ.ม
Coating Concrete Base of H2SO4 Cooler Units + 20 CM. from Base to Trench : CP 551 A
ระบบเคลือบ SW 6160 Series x thickness. 3.5 mm : Vitrious Epoxy Laminate Flooring ( FRP ) – 3 layers (M/M/M)
1st layer (Prime Coat) : Swancor 963-L + Kaolin Clay / กรณีปูนชื้นลง SW601PB ก่อน
2nd layer (Intermediate Coat 1) : Swancor SW 901 + CSM No.450
3rd layer (Intermediate Coat 2) : Swancor SW 901 + CSM No.450
4th layer (Intermediate Coat 3) : Swancor SW 626 A/B + CSM No.450
5th layer (Chemical Barrier) : Swancor SW 626 A/B + Tissue Mat (C-Glass)
6th layer (Chemical Barrier) : Swancor SW 626 A/B + Tissue Mat (C-Glass)
7th layer (Top Coat 1) : Swancor SW 626 A/B + Fume Silica + Pigment
Thickness : 3.5 – 3.8 mm.
ACTION :
มีปัญหา เปิดหน้างานไม่ได้ หัวหน้าช่างเคลือบคิดว่าจบงานไม่ได้ ขอเลื่อนไปทำในช่วงที่เหมาะสม กว่านี้ :-
งานเคลือบบ่อซั้ม มีปัญหาเรื่อง ตาน้ำใต้ดิน เพราะเมื่อวิดน้ำ และ ซับน้ำออกจากบ่อหมดแล้ว น้ำจะซึมออกมาเร็วมากผิดปกติ น้ำที่ซึมออกมาสูง 1-2 นิ้ว จากก้นบ่อ ภายในเวลา 15 – 30 นาที ซึ่งปกติบ่อตื้นเพียง 90 ซม. ไม่น่าจะมีปัญหาจาก ระดับน้ำใต้ดิน คาดว่าน่าจะมี ตาน้ำใต้ดินเชื่อมต่อกับแหล่งน้ำอื่นที่อยู่ใกล้ ๆ เช่น บ่อน้ำใหญ่ด้านหลัง โรตารี่ช็อพ เสริมกับช่วงนี้ฝนตกหนักเกือบแทบทุกวัน ต้องรอเข้างานใหม่เพื่อให้ฝนทิ้งช่วงไประยะหนึ่งก่อน หรือ ที่ดีที่สุด คือ เข้าทำช่วงหน้าแล้งฝน เพื่อลดปัญหาเรื่องน้ำและความชื้น
งานเคลือบแท่น CP 551-A มีปัญหาเรื่อง หยุดเดินเครื่องไม่ได้นาน (เต็มที่ 1-2 วัน ) แล้วเมื่อหยุดเครื่อง Compressor แล้วยังมีกรดกำมะถัน 98% หยดลงมาจากปั๊มตลอดเวลา เนื่องจากที่ผ่านมา แท่น CP 551-B และ C ตัวเครื่องตั้งอยู่โครงเหล็กวางติดชิดบนหลังเต่าของแท่นคอนกรีต แต่สำหรับ CP 551-A ตัวเครื่องวางลอยสูงจากแท่นคอนกรีต ประมาณ 1.5 ฟุต เวลาน้ำกรดหยดลงบนถาด PVC ที่รองไว้ใต้เครื่อง จะมีการกระเด็นออกมา เนื่องจากน้ำกรดหยดจากที่สูง ไม่มีความปลอดภัยเพียงพอ ต้องเปลี่ยนวิธีการทำงานใหม่ ใช้เป็นเคลือบระบบ Mortar แทน แล้วต่อด้ามลูกกลิ้งให้ยาว 1.5 – 3 เมตร ทำการเคลือบตัวแท่น โดยไม่จำเป็นต้องหยุดเครื่อง ส่วนเคลือบตัวเครื่องใช้กาพ่น
แก้ไขเป็นระบบเคลือบ SW 6160 EX Series x thickness. 3.5 mm : Vitrious Epoxy Laminate Flooring ( FRP ) – 3 layers ( Motar Lining )
1st layer (Prime Coat) : Swancor 963-L + Kaolin Clay / กรณีผิวมีความชื้นสูง SW601PB
2nd layer (Intermediate Coat 1) : Swancor SW 626 A/B + Quartz # 200 mesh + ผงกันย้อย Fume Silicaa
3rd layer (Top Coat 1) : Swancor SW 626 A/B + Fume Silica + Pigment
Thickness : 3.0 – 3.5 mm.
ปัญหาจาก ระดับน้ำใต้ดิน คาดว่าน่าจะมี ตาน้ำใต้ดินเชื่อมต่อกับแหล่งน้ำอื่นที่อยู่ใกล้ ๆ เช่น บ่อน้ำใหญ่ด้านหลัง โรตารี่ช็อพ เสริมกับช่วงนี้ฝนตกหนักเกือบแทบทุกวัน
ต้องรอเข้างานใหม่เพื่อให้ฝนทิ้งช่วงไประยะหนึ่งก่อน หรือ ที่ดีที่สุด คือ เข้าทำช่วงหน้าแล้งฝน เพื่อลดปัญหาเรื่องน้ำและความชื้น
เคลือบ Epopac A/B/C น้ำยากันซึมบล็อกแรงดันจากตาน้ำใต้ดิน ก้นบ่อปูน หนา 2 mm.
แท่น CP 551-B และ C CP 551-A ตัวเครื่องวางลอยสูงจากแท่นคอนกรีต ประมาณ 1.5 ฟุต
ตัวเครื่องตั้งอยู่โครงเหล็กวางติดชิดบนหลังเต่าของแท่นคอนกรีต น้ำกรดบางส่วนไม่ไหลผ่านท่อDrain แต่หยดลงบนถาด PVC ที่รองไว้ใต้เครื่อง
มีการกระเด็นออกมา เนื่องจากน้ำกรดหยดจากที่สูง
CP 551 – แท่น A
CP 551 – แท่น B และ C
ลักษณะ การวางเครื่อง ของ แท่น A ที่แตกต่างจาก แท่น B และ C